Transparency of Aluminium Can

Closed-Loop Recycling

โครงการเก็บกลับกระป๋องอลูมิเนียมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล ต้นแบบการขยายความรับผิดของผู้ผลิตเพื่อการจัดการบรรจุภัณฑ์อย่างยั่งยืนของกลุ่มธุรกิจ TCP

เกี่ยวกับโครงการ

     โครงการ “Transparency of Aluminium Can Closed-Loop Recycling” มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการจัดทําระบบรีไซเคิลกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้วแบบครบวงจรในประเทศไทย เป็นต้นแบบการนําขยะกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มกระป๋องอลูมิเนียมใบใหม่อีกครั้ง (Can to Can) เพิ่มประสิทธิภาพการรวบรวมและการคัดแยกเพื่อพัฒนาคุณภาพของกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้ว เพิ่มอัตราการรีไซเคิล (Recycling Rate) และสัดส่วนการใช้วัสดุรีไซเคิล (Recycled Content) ในการผลิตกระป๋องอลูมิเนียม

     โครงการนี้สอดคล้องกับแผนการดําเนินงานบันทึกความร่วมมือ (MOU) ส่งเสริมการผลิตบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มที่สามารถรีไซเคิลได้ รวมถึงเป็นไปตามหลักความรับผิดชอบของผู้ผลิต หรือ EPR (Extended Producer Responsibility) ที่ผู้ผลิตมีหน้าที่ต้องคํานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดวงจรชีวิตของบรรจุภัณฑ์ ตั้งแต่การออกแบบ การกระจายสินค้า การรับคืน การเก็บรวบรวม และการนํากลับมาใช้ใหม่ และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้านเศรษฐกิจหมุนเวียนของแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio Economy, Circular Economy, และ Green Economy: BCG Model) โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ความคืบหน้าโครงการ
Aluminium Loop CAN x TCP 2024
เริ่มเก็บข้อมูล ณ วันที่ 1/01/2024 ข้อมูลอัปเดต ณ วันที่ 30/04/2024

กระป๋องที่ถูกเก็บ

15,954,709
ใบ

ปริมาณอลูมิเนียมที่ถูกรีไซเคิล

197.62
ตัน

เกี่ยวกับโครงการ

     โครงการ “Transparency of Aluminium Can Closed-Loop Recycling” มีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนการจัดทําระบบรีไซเคิลกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้วแบบครบวงจรในประเทศไทย เป็นต้นแบบการนําขยะกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มกระป๋องอลูมิเนียมใบใหม่อีกครั้ง (Can to Can) เพิ่มประสิทธิภาพการรวบรวมและการคัดแยกเพื่อพัฒนาคุณภาพของกระป๋องอลูมิเนียมใช้แล้ว เพิ่มอัตราการรีไซเคิล (Recycling Rate) และสัดส่วนการใช้วัสดุรีไซเคิล (Recycled Content) ในการผลิตกระป๋องอลูมิเนียม

     โครงการนี้สอดคล้องกับแผนการดําเนินงานบันทึกความร่วมมือ (MOU) ส่งเสริมการผลิตบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มที่สามารถรีไซเคิลได้ รวมถึงเป็นไปตามหลักความรับผิดชอบของผู้ผลิต หรือ EPR (Extended Producer Responsibility) ที่ผู้ผลิตมีหน้าที่ต้องคํานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดวงจรชีวิตของบรรจุภัณฑ์ตั้งแต่การออกแบบ การกระจายสินค้า การรับคืน การเก็บรวบรวม และการนํากลับมาใช้ใหม่ และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้านเศรษฐกิจหมุนเวียนของแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio Economy, Circular Economy, และ Green Economy: BCG Model) โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ความคืบหน้าโครงการ
Aluminium Loop CAN x TCP 2024
เริ่มเก็บข้อมูล ณ วันที่ 1/01/2024 ข้อมูลอัปเดต ณ วันที่ 30/04/2024

ความคืบหน้าโครงการ
Aluminium Loop CAN x TCP 2024
เริ่มเก็บข้อมูล ณ วันที่ 1/01/2024
ข้อมูลอัปเดต ณ วันที่ 30/04/2024

กระป๋องที่ถูกเก็บ

15,954,709
ใบ

ปริมาณอลูมิเนียมที่ถูกรีไซเคิล

197.62
ตัน